วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

รู้จักกับส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์

(CPU – Central Processing Unit)
ซีพียูเป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการประมวลผลคำสั่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการคิด
คำนวณการตัดสินใจ ทุกอย่างจะถูกนำมาประมวลผลที่อุปกรณ์ตัวนี้ทั้งหมด โดยจะ
มีการรับคำสั่งเข้ามาจากอุปกรณ์
แสดงผลออกทางอุปกรณ์
ซีพียูจากค่ายอินเทล
เป็นต้นSocket ที่มีลักษณะ2 ยี่ห้อเท่านั้น คืออินเทลและเอเอ็มดี
Pentium 4
นั้นเป็น
และ Celeronใช้อินเทอร์เฟซแบบ Socket 478 และ 775 ส่วนเอเอ็มดีAthlon XP, Athlon 64 Bit ใช้อินเทอร์เฟซแบบ Socket A ,754 และ 939
โดยแต่ละค่ายก็มีจุดดีจุดด้อยแตกต่างกันไปซีพียูของอินเทลนั้นมีจุดเด่นในด้าน
การทำงานที่มีเสถียรภาพ มีความทนทานสูงและไม่ร้อนง่าย แต่มีข้อเสียคือราคาแพง
และทำงานช้ากว่าซีพียูของเอเอ็มดีในระดับความเร็วเดียวกัน สำหรับเอเอ็มดีนั้น
จุดเด่นคือ ซีพียูมีราคาถูกกว่าอินเทลในทุกรุ่นและมีความเร็วสูงทั้งงานด้านกราฟิก
และงานทั่วไป ส่วนข้อเสียของเอเอ็มดี คือมีความร้อนสูง หากไม่มีระบบระบาย
ความร้อนที่ดีจะทำให้ระบบไม่มีเสถียรภาพ และเกิดความเสียหายต่อตัวซีพียูได้ง่าย
เมนบอร์ด
(Mainboard)
เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นวงจรหลักสำหรับติดตั้งอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ต่างๆ เกือบทั้งหมด โดยจะมีหน้าที่ในการประสานงานและติดต่อรับส่ง
ข้อมูลโดยผ่านระบบบัส บนเมนบอร์ดก็จะมีอุปกรณ์ที่สำคัญๆ รวมอยู่ด้วย เช่น สล็อต
,
ซ็อกเก็ตสำหรับเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ชิพเซ็ตที่ทำหน้าที่เหมือนแม่บ้าน คอยจัด
การและประสานงานให้กับอุปกรณ์ที่นำมาติดตั้งบนเมนบอร์ด นอกจากนี้ก็ยังรวม
เอาแผงวงจรและชิพควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ตัวควบคุมฮาร์ดดิสก์
Controller)
(Harddiskพอร์ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก เช่น พอร์ตขนาน (Parallel Port)
เป็นต้นพอร์ตอนุกรม
(Serial Port) และพอร์ตยูเอสบี (USB Port)

เมนบอร์ด
แรม
(RAM – Random Access Memory)
แรมคือหน่วยความจำที่ทำหน้าที่อ่านและเขียนข้อมูลร่วมกับซีพียูอยู่
ตลอดเวลา ข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์ส่วนใหญ่จะต้องมาพักที่แรมเสมอก่อนจะถูกส่ง
ไปยังซีพียู ดังนั้นยิ่งแรมมีขนาดมากขึ้นเท่าไหร่ก็สามารถพักข้อมูลไว้กับแรมได้
มากขึ้น ทำให้ซีพียูไม่ต้องเรียกข้อมูลจากฮาร์ดดิสก์บ่อยๆ ซึ่งฮาร์ดดิสก์มีความเร็ว
ในการอ่านและเขียนข้อมูลน้อยกว่าแรม ส่งผลให้ระบบของเราทำงานได้เร็วขึ้น
ในปัจจุบันแรมมีหลายชนิดด้วยกัน คือ
SDRAM
SDRAM, DDR SDRAM และ RAMBUSจะมีลักษณะเป็นแผงยาวมีขาสัญญาณขนาด 168 pin 64 bit
สำหรับติดตั้งกับซ็อกเก็ตแรมแบบ
DIMM ส่วนใหญ่แรมที่ขายกันเดี๋ยวนี้จะเป็นแบบ
PC–100
ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องรุ่นเก่าเสียมากกว่า เนื่องจากการเข้ามาแทนที่ของ
SDRAM

DDR SDRAM
มีลักษณะคล้ายกับ SDRAM แต่จะมีขนาด 184 pin
และเนื่องจากทำงานทั้งขอบขาขึ้นและขาลงของสัญญาณนาฬิกาทำให้มีความเร็วเพิ่ม
ขึ้นเป็น
หลายขนาด เช่น
ความจำมาตรฐานใหม่ที่มาแทนที่
หน่วยความจำแบบ
RAMBUS
มาตราฐานใหม่ของหน่วยความจำในอนาคต แต่ในปัจจุบันดูแล้วสถาการณ์ของ
เป็นแรมชนิดใหม่ที่อินเทลเคยพยายามผลักดันให้เป็น
RAMBUS
นั้นก็ไม่มีอะไรที่หวือหวามากนัก RAMBUS มีลักษณะที่แตกต่างจาก
SDRAM
และ DDR SDRAM อย่างเห็นได้ชัด โดยใช้อินเทอร์เฟชแบบ RIMM ขนาด
299 pin
นอกจากนี้ยังมีความเร็วบัสที่สูงถึง 400 MHz และสามารถส่งถ่ายข้อมูลได้ถึง
800 MB
ความหน่วง
ฮาร์ดดิสก์
(Harddisk)
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่สำหรับเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่
โดยเฉพาะการเก็บข้อมูลสำหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมต่างๆ
ซึ่งไม่สามารถเก็บไว้ในแผ่นฟล็อบปี้ดิสก์ที่มีความจุน้อยได้ ภายในฮาร์ดดิสก์
จะประกอบไปด้วยแผ่นจานโลหะแข็ง
จะมีแขนที่เป็นตัวเคลื่อนหัวอ่านเข้าไปอ่านและเขียนข้อมูลตามตำแหน่งที่ต้องการ
และจะไม่มีการสัมผัสกับแผ่นโดยตรงแต่จะมีช่องว่างห่างกันประมาณ
ทำให้การอ่านข้อมูลจากแผ่น
จากการสัมผัส โดยจะมีความเร็วรอบอยู่
IDE/E-IDE
ความเร็วสูงสุดเพียง
มาตรฐานของฮาร์ดดิสก์ใหม่ขึ้นมา ซึ่งเรียกว่าเป็นฮาร์ดดิสก์แบบ
ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลถึง
สามารถพัฒนาความเร็วได้ถึง
นี้ฮาร์ดดิสก์แบบ
เชื่อมต่อแบบใหม่ที่มีขนาดเล็กและบางกว่าเดิม ทำให้การไหลเวียนของอากาศภาย
ในเคสดีขึ้นดูเป็นระเบียบมากขึ้น และตัวของฮาร์ดดิสก์มีความแข็งแรงมากขึ้น
ไม่บอบบางหรือเสียหายง่ายเหมือนฮาร์ดดิสก์แบบ

พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจำนวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอ

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW
 
เป็นไดรฟ์สำหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้คือ CD-RW หรือ DVD-RW โดยความเร็วของ ซีดีรอมจะเรียกเป็น X เช่น 16X , 32X หรือ 52X โดยจะมี Interface เดียวกับ Harddisk

 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ CD-ROM
CD-ROM


     การทำงานของ CD-ROM ภายในซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทำงานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอมคงที่สม่ำเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกกรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลำแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตำแหน่งได้ โดยการทำงานของขดลวด ลำแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเป็น หลุมเป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก "แลนด์" สำหรับบริเวณที่ไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิวสองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไม่สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่งปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่งปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่วงของลำแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจะกำเนิดแรงดันไฟฟ้า หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีรอมนั้นต้องใช้แสงเลเซอร์เช่นกัน โดยมีลำแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเครื่อง บันทึกข้อมูลส่องไปกระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไปกระทบบริเวณใดจะทำให้บริเวณนั้นเป็นหลุมขนาดเล็ก บริเวณทีไม่ถูกบันทึกจะมีลักษณะเป็นพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผ่น
ข้อมูลจาก http://www.kapook.com/


 

วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว
ชื่อ น.ส.กนกวรรณ บูชา
ชื่อเล่น ออย
ชั้น ปวช.1/6 สาขาคอมพิวเตอร์ เลขที่ 34
อายุ15
เกิดวันที่ 9 พฤจิกายน 2538
กรุ๊ปเลือด B
ที่อยู่ 118ม.-ซ อัญชลี 10 ถ. นนทบุรี
งานอดิเรก วาดการ์ตูน อ่านการ์ตูน ทำ CG(การ์ตูน) ฟังเพลง ตัดต่อภาพโปโต้ช้อบ
นักร้องไอดอลคือ ฮาสึเนะ มิกุ

เดิมศึกษาี่ที่ โรงเรียนอนุารชประสิทธิ์


ปัจุบันศึกษาต่อที่โรงเรียนพงศ์สวัสดิ์PSC

เนะนำตัวจ้า